วาทะจุดประกาย : "การลืมคนตายก็คล้ายกับการฆ่าพวกเขาเป็นครั้งที่สอง"
ดาวน์โหลด mp3(คลิกฟัง)
เขาเกิดในครอบครัวชาวยิวในโรมาเนีย ช่วงวัยหนุ่ม เขาและครอบครัวถูกจับเข้าค่ายกักกันระหว่างการกวาดล้างชาวยิวของพรรคนาซี เยอรมัน เหตุการณ์ดังกล่าวกลายเป็นวัตถุดิบชั้นดีสำหรับงานเขียนหลายชิ้นของเขาหลัง จากนั้น
เมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง วีเซลออกมาสอนภาษาฮิบรู และเริ่มเรียนภาษาฝรั่งเศส ซึ่งต่อมากลายเป็นภาษาหลักที่เขาใช้เขียนงานหลายชิ้น ผลงานที่โด่งดังของวีเซล ได้แก่ บันทึกความทรงจำเรื่อง Night (1955/56) ที่เล่าประสบการณ์ของเขากับพ่อ ผู้เสียชีวิตในค่ายกักกันชาวยิวที่บูเชนวาลท์ (Buchenwald)
ปี 1986 คณะกรรมการรางวัลโนเบลได้มอบรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพให้แก่วีเซล และยกย่องให้เขาเป็นผู้ส่งสารสันติภาพแก่มนุษยชาติ
"การลืมคนตายก็คล้ายกับการฆ่าพวกเขาเป็นครั้งที่สอง"
เอลี่ วีเซล นักเขียน ชาวอเมริกัน
เขาเกิดในครอบครัวชาวยิวในโรมาเนีย ช่วงวัยหนุ่ม เขาและครอบครัวถูกจับเข้าค่ายกักกันระหว่างการกวาดล้างชาวยิวของพรรคนาซี เยอรมัน เหตุการณ์ดังกล่าวกลายเป็นวัตถุดิบชั้นดีสำหรับงานเขียนหลายชิ้นของเขาหลัง จากนั้น
เมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง วีเซลออกมาสอนภาษาฮิบรู และเริ่มเรียนภาษาฝรั่งเศส ซึ่งต่อมากลายเป็นภาษาหลักที่เขาใช้เขียนงานหลายชิ้น ผลงานที่โด่งดังของวีเซล ได้แก่ บันทึกความทรงจำเรื่อง Night (1955/56) ที่เล่าประสบการณ์ของเขากับพ่อ ผู้เสียชีวิตในค่ายกักกันชาวยิวที่บูเชนวาลท์ (Buchenwald)
ปี 1986 คณะกรรมการรางวัลโนเบลได้มอบรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพให้แก่วีเซล และยกย่องให้เขาเป็นผู้ส่งสารสันติภาพแก่มนุษยชาติ
"การลืมคนตายก็คล้ายกับการฆ่าพวกเขาเป็นครั้งที่สอง"
เอลี่ วีเซล นักเขียน ชาวอเมริกัน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น