เลือกประชาธิปไตย // นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 9 ฉบับที่ 8 มกราคม 57
วันพฤหัสบดีที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2557
เลื่อน ไม่เลื่อน เลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ รัฐประหารเงียบ?
เลื่อน ไม่เลื่อน เลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ รัฐประหารเงียบ?
มีแนวโน้มว่าจะลงเอยแบบ "เสียแรงเปล่า" เหมือนกับอีกหลายๆ ความพยายามที่ผ่านมา
เมื่อ การจัดประชุมเพื่อพิจารณาข้อเสนอว่าควรจะเลื่อนการเลือกตั้งออกไปตามข้อเสนอ ของคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ที่รัฐบาลเป็นเจ้าภาพ ซึ่งอุตส่าห์ชักชวนองค์กรที่เกี่ยวข้องกว่า 70 แห่ง เมื่อวันที่ 15 มกราคม ถูกตัวละครสำคัญปฏิเสธไม่เข้าร่วมตั้งแต่ต้น
ไม่ว่าจะเป็น กกต. ผู้แสดงออกมาตลอดว่าไม่ต้องการจัดเลือกตั้งในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พรรคประชาธิปัตย์ ผู้บอยคอตการเลือกตั้งมาแต่ต้น และตัวแทนม็อบนกหวีด ที่ประกาศว่าจะเอาแต่ชัยชนะสถานเดียว
ไม่มีการเจรจาใดๆ อีกต่อไป
แล้วเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ จะเดินหน้าต่อไปได้หรือไม่
พิจารณาจากท่าทีของนายสมชัย ศรีสุทธิยากร กกต.ด้านกิจการบริหารงานเลือกตั้ง ที่เปิดแถลงเมื่อวันที่ 14 มกราคม ถึงเหตุผลที่ไม่เข้าร่วมประชุมด้วย ก็พอจะเห็นเค้าลางๆ
"กก ต.ยังเห็นด้วยกับแนวทางที่ว่าต้องพูดคุยระหว่างรัฐบาลและ กกต.ก่อน เพราะถ้าหาก 2 ฝ่ายยังไม่สามารถพูดคุยเป็นไปในทางเดียวกัน การขยายวงที่ใหญ่ขึ้นจะได้ข้อยุติยาก"
ตนประสานไปยังนายสุรนันทน์ เวชชาชีวะ เลขาธิการนายกรัฐมนตรี และนายพงศ์เทพ เทพกาญจนา รองนายกฯ นัดนายกรัฐมนตรีให้มาพบหารือกับ กกต. ทั้ง 5 คน
ถ้ายังเห็นต่างกัน กกต.จะเสนอไปให้ศาลรัฐธรรมนูญตีความว่า แนวทางในการแก้ไขปัญหาการเลือกตั้งที่เห็นต่างกันอยู่
ศาลรัฐธรรมนูญจะว่าอย่างไร
เมื่อ การจัดประชุมเพื่อพิจารณาข้อเสนอว่าควรจะเลื่อนการเลือกตั้งออกไปตามข้อเสนอ ของคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ที่รัฐบาลเป็นเจ้าภาพ ซึ่งอุตส่าห์ชักชวนองค์กรที่เกี่ยวข้องกว่า 70 แห่ง เมื่อวันที่ 15 มกราคม ถูกตัวละครสำคัญปฏิเสธไม่เข้าร่วมตั้งแต่ต้น
ไม่ว่าจะเป็น กกต. ผู้แสดงออกมาตลอดว่าไม่ต้องการจัดเลือกตั้งในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พรรคประชาธิปัตย์ ผู้บอยคอตการเลือกตั้งมาแต่ต้น และตัวแทนม็อบนกหวีด ที่ประกาศว่าจะเอาแต่ชัยชนะสถานเดียว
ไม่มีการเจรจาใดๆ อีกต่อไป
แล้วเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ จะเดินหน้าต่อไปได้หรือไม่
พิจารณาจากท่าทีของนายสมชัย ศรีสุทธิยากร กกต.ด้านกิจการบริหารงานเลือกตั้ง ที่เปิดแถลงเมื่อวันที่ 14 มกราคม ถึงเหตุผลที่ไม่เข้าร่วมประชุมด้วย ก็พอจะเห็นเค้าลางๆ
"กก ต.ยังเห็นด้วยกับแนวทางที่ว่าต้องพูดคุยระหว่างรัฐบาลและ กกต.ก่อน เพราะถ้าหาก 2 ฝ่ายยังไม่สามารถพูดคุยเป็นไปในทางเดียวกัน การขยายวงที่ใหญ่ขึ้นจะได้ข้อยุติยาก"
ตนประสานไปยังนายสุรนันทน์ เวชชาชีวะ เลขาธิการนายกรัฐมนตรี และนายพงศ์เทพ เทพกาญจนา รองนายกฯ นัดนายกรัฐมนตรีให้มาพบหารือกับ กกต. ทั้ง 5 คน
ถ้ายังเห็นต่างกัน กกต.จะเสนอไปให้ศาลรัฐธรรมนูญตีความว่า แนวทางในการแก้ไขปัญหาการเลือกตั้งที่เห็นต่างกันอยู่
ศาลรัฐธรรมนูญจะว่าอย่างไร
ขอเชิญคนไทยในเดนมาร์ก ร่วมจุดเทียนเขียนสันติภาพ หยุดสร้างเงื่อนไขที่นำไปสู่ความรุนแรง
ขอเชิญคนไทยในเดนมาร์ก ร่วมจุดเทียนเขียนสันติภาพ หยุดสร้างเงื่อนไขที่นำไปสู่ความรุนแรง
คนไทยในเดนมาร์ก ร่วม จุดเทียนเขียนสันติภาพ หยุดสร้างเงื่อนไขที่นำไปสู่ความรุนแรง
ในวันเสาร์ที่ 18 ม.ค. นี้ เวลา 15.00-17.00 น.
ณ กรุงโคเปนเฮเกน เดนมาร์ก
Velkommen til: "tænd et stearinlys,tal for hvores frihed,stop vold og anarki i Thailand..!"
Vi mødes på Rådhuspladsen,København.
Lørdag d.18 Februar 2014 kl.15:00-17:00 Vi ses!
คนไทยในเดนมาร์ก ร่วม จุดเทียนเขียนสันติภาพ หยุดสร้างเงื่อนไขที่นำไปสู่ความรุนแรง
ในวันเสาร์ที่ 18 ม.ค. นี้ เวลา 15.00-17.00 น.
ณ กรุงโคเปนเฮเกน เดนมาร์ก
Velkommen til: "tænd et stearinlys,tal for hvores frihed,stop vold og anarki i Thailand..!"
Vi mødes på Rådhuspladsen,København.
Lørdag d.18 Februar 2014 kl.15:00-17:00 Vi ses!
ขอเชิญประชาชนและนักศึกษาร่วมจุดเทียนเขียนสันติภาพ หยุดเงื่อนไขนำไปสู่ความรุนแรง
ขอเชิญประชาชนและนักศึกษาร่ วมจุดเทียนเขียนสันติภาพ หยุดเงื่อนไขนำไปสู่ความรุน แรง
ขอเชิญประชาชนและนักศึกษาร่ วมจุดเทียนเขียนสันติภาพ หยุดเงื่อนไขนำไปสู่ความรุน แรง พบกันที่ทางออกประตูเชียงรา ก 1 (ฝั่งตรงข้ามหอพัก TU Dome) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต 19.00 น. ใครอยู่ใกล้ไปร่วมกันค่ะ
ขอเชิญประชาชนและนักศึกษาร่
ต่างชาติชี้ ไทยจะมีรัฐประหารโดยศาล-องค์กรอิสระ
ต่างชาติชี้ ไทยจะมีรัฐประหารโดยศาล-องค์กรอิสระ
สื่อต่างชาติวิเคราะห์สถานการณ์การ
เมืองไทย โดยชี้ว่า การก่อรัฐประหารโดยกองทัพ
ไม่น่าจะเป็นวิธีแก้ไขปัญหาการเมืองอีกต่อไป พร้อมเชื่อว่า
ฝ่ายต่อต้านรัฐบาลไทย จะใช้ศาล
และองค์กรอิสระเป็นเครื่องมือในการโค่นล้มรัฐบาลแทน
ดอยเชอ เวลเลอ สำนักข่าวชื่อดังของเยอรมนี
รายงานโดยอ้างความเห็นของนักสังเกตการณ์ชาวเยอรมันซึ่งทำงานอยู่ในกรุงเทพฯ
คาดการณ์จุดจบของวิกฤตการเมืองไทยรอบล่าสุด ว่า กองทัพจะไม่ยึดอำนาจ
แต่ปล่อยให้ศาล และองค์กรอิสระใช้ความชอบทางกฎหมาย รับรองการตั้งสภาประชาชน
ซึ่งไม่ได้มาจากการเลือกตั้งแทน
รายงานของดอยเชอ เวลเลอ บรรยายว่า
ตลอดหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยเกิดวิกฤตการเมืองมาแล้วหลายรอบ
จนเกิดความแตกแยกอย่างร้าวลึก และมีการแบ่งขั้วเป็นฝ่าย "คนเสื้อแดง" กับ
"คนเสื้อเหลือง" ในความความขัดแย้งรอบนี้
กองทัพลังเลที่จะเข้าแทรกแซงการเมือง
ดังที่เคยเข้ายึดอำนาจมาแล้วหลายครั้งในประวัติศาสตร์ไทย
เมื่อเกิดวิกฤตที่ไม่สามารถหาทางออกได้
ฟันธงศาลเลือกข้างม็อบ เปิดทางตั้งสภาประชาชน
ฟันธงศาลเลือกข้างม็อบ เปิดทางตั้งสภาประชาชน
สื่อเยอรมันฟันธง ตุลาการภิวัตน์ไทยเป็นต้นแบบรัฐประหารในศตวรรษที่ 21 ขัดขวางทางออกตามกรอบรัฐธรรมนูญ คาดศาล-องค์กรอิสระรับลูกฝ่ายต่อต้านรัฐบาล วินิจฉัยตั้ง 'สภาประชาชน' ชอบด้วยกฎหมาย
สำนักข่าวของประเทศเยอรมนี Deutsche Welle รายงานอ้างความเห็นของนักสังเกตการณ์ชาวเยอรมันซึ่งทำงานในกรุงเทพ คาดการณ์บทจบของวิกฤตการเมืองรอบล่าสุดในไทย ว่า กองทัพจะไม่ยึดอำนาจ แต่ศาลและองค์กรอิสระจะใช้ความชอบด้วยกฎหมายแบบจอมปลอม รับรองการตั้งสภาประชาชน ซึ่งไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง
รายงานของ DW บรรยายว่า ตลอดหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยเกิดวิกฤตการเมืองมาแล้วหลายรอบ สังคมไทยเกิดความแตกแยกอย่างลึกซึ้ง มีการแบ่งขั้วเป็นฝ่าย "คนเสื้อแดง" กับ "คนเสื้อเหลือง" ในรอบล่าสุดนี้ ฝ่ายแรกสนับสนุนรัฐบาลประชาธิปไตยของรักษาการนายกรัฐมนตรี ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ฝ่ายหลังสนับสนุนขบวนการต่อต้านของอดีตส.ส. สุเทพ เทือกสุบรรณ และสถาบันพระมหากษัตริย์
ในความความขัดแย้งรอบนี้ กองทัพลังเลที่จะเข้าแทรกแซงการเมือง ดังที่เคยเข้ายึดอำนาจหลายครั้งในประวัติศาสตร์ไทยเมื่อเกิดวิกฤตที่ไม่สามารถหาทางออกทางการเมืองได้
มาร์ก แซ็กเซอร์ นักวิเคราะห์ในมูลนิธิ Friedrich-Ebert Stiftungกล่าวว่า กองทัพไทยมีความใกล้ชิดกับราชวงศ์และคนเสื้อเหลือง แต่ในช่วงสองสามปีมานี้ ความใกล้ชิดกับคนเสื้อเหลืองได้ลดน้อยถอยลงด้วยเหตุผล 2 ประการ ข้อแรก นายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ได้สร้างสายสัมพันธ์ที่ดีกับกองทัพ ข้อสอง กำลังพลจำนวนมากเป็น "ทหารแตงโม" กำลังเหล่านี้อาจสนับสนุนรัฐบาลเมื่อเกิดรัฐประหาร
ประมวลภาพกิจกรรม ‘จุดเทียนเขียนสันติภาพ’ ที่ธรรมศาสตร์
ประมวลภาพกิจกรรม ‘จุดเทียนเขียนสันติภาพ’ ที่ธรรมศาสตร์
บรรยากาศ 'จุดเทียนเขียนสันติภาพ' ที่ธรรมศาสตร์
http://www.youtube.com/watch?v=8Kxe7Bsa2x0
12 ม.ค.2557 ที่บริเวณสนามฟุตบอล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ กลุ่มนักศึกษาธรรมศาสตร์ในนามสภานักศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดกิจกรรมรณรงค์เพื่อยุติการสร้างเงื่อนไขไปสู่ความรุนแรงอันเนื่องจากการ ชุมนุมทางการเมืองขึ้นในช่วงเย็น โดยใช้ชื่อว่า “จุดเทียนเขียนสันติภาพ หยุดเงื่อนไขนำไปสู่ความรุนแรง"
กิจกรรมนี้ ได้รับความสนใจจากคณาจารย์ นักศึกษาปัจจุบัน และอดีตนักศึกษาธรรมศาสตร์ รวมทั้งประชาชนทั่วไปเดินทางมาร่วมเป็นจำนวนหลายร้อยคน ในงานมีการทำป้ายขนาดใหญ่และแจกสติ๊กเกอร์รณรงค์ให้แก้ไขปัญหาความขัดแย้ง ทางการเมืองผ่านกระบวนการการเลือกตั้ง และรณรงค์ให้เคารพหลักการความเสมอภาค และสิทธิของ 1 คน 1 เสียง รวมทั้งการปฏิเสธการรัฐประหารด้วย
ในงานมีกิจกรรมให้ผู้เข้าร่วม เขียนบทกวีสั้นและส่งให้พิธีกรบนเวทีอ่าน มีการให้ผู้เข้าร่วมงานเขียนข้อความบนโพสต์อิทแสดงความคิดเห็นต่อสถานการณ์ การเมืองนำไปแปะบนกระดานขนาดใหญ่ โดยที่กิจกรรมหลักคือการจุดเทียนเขียนสันติภาพ เริ่มขึ้นในเวลาประมาณ 18.00 น.เศษ โดยผู้เข้าร่วมประกาศเจตนารมณ์ร่วมกันในการสมานฉันท์สันติวิธี และเรียกร้องให้ทุกฝ่ายหยุดใช้ความรุนแรง หยุดใช้ประชาชนเป็นเครื่องมือ หยุดสร้างเงื่อนไขนำไปสู่ความรุนแรง ทั้งหมดนี้เพื่ออนาคตของประเทศไทย ก่อนจะเริ่มจุดเทียนและร่วมกันกล่าวคำว่า “เราไม่เอาความรุนแรง” ก่อนจะจบด้วยการร่วมกันร้องเพลง Imagine ของจอห์น เลนนอน และเพลงชาติไทยปิดท้าย ก่อนจบงานผู้จัดมีการนัดหมายกับผู้เข้าร่วมกิจกรรมว่า หากเกิดการรัฐประหารขึ้นขอให้ทุกคนออกมารวมตัวกัน ก่อนจะแยกย้ายกันเดินทางกลับ บรรยากาศเป็นอย่างคึกคัก
(อ่านต่อ)
http://www.prachatai.com/journal/2014/01/51116
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)