"ถ้ารักชาติแบบคุณ ผมไม่เอาด้วย เพราะชาติของคุณไม่ยอมรับคว
นิธิ เอียวศรีวงศ์
ในวิพากษ์ ค่านิยม 12 ประการ ของ คสช.
http://www.youtube.com/
Agree with Nidhi...........
คำว่า "ชาติ" หรือ "ประชาชาติ" ที่แปลมาจาก คำว่า Nation นั้น
เป็นคำ "เก่า" ที่เอามาใช้ในความหมาย "ใหม่"
สมัยสมบูรณาญาสิทธิราช รัชกาลทีี่ 6
เคยแปลเพียงว่า "ชาติ" อย่างกรณี
League of Nations ก็แปลว่า "สันนิบาตชาติ"
แต่เสด็จในกรมนราฯ (อดีตอธิการฯ มธ ที่ไม่เคยทะเลาะกับ นศ เรื่อง "เสรีภาพ")
สมัย "พยายามเป็นประชาธิปไตย"
แปลคำว่า United Nations ว่า "สหประชาชาติ"
คือเติมคำว่า "ประชา" เข้าไป
ดังนั้น "ชาติ" ในความหมายนี้ ก็มี "ประชาชน" ด้วย
ต่างจากความหมายสมัยรัชกาลที่ 6 สมบูรณาญาสิทธิราช
ที่ "ขาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์"
หาได้มี ตำแหน่งแห่งที่ให้ "ประชาชน" ไม่
"ชาติ" น่าจะหมายเพียง country หรือ "ประเทศ"
คำถาม คือ ประชาชน ในระบอบเก่า อยู่ตรงไหน
ปัญหาดังกล่าว
จึงทำให้มีการต่อด้วย "และรัฐธรรมนูญ" ของ "คณะราษฎร"
หรือ "และประชาชน" ของ "คสช" ใช่หรือไม่ ???
cK@ประชาชนอยู่ที่ไหน???
สมัย "พยายามเป็นประชาธิปไตย"
แปลคำว่า United Nations ว่า "สหประชาชาติ"
คือเติมคำว่า "ประชา" เข้าไป
ดังนั้น "ชาติ" ในความหมายนี้ ก็มี "ประชาชน" ด้วย
ต่างจากความหมายสมัยรัชกาลที่ 6 สมบูรณาญาสิทธิราช
ที่ "ขาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์"
หาได้มี ตำแหน่งแห่งที่ให้ "ประชาชน" ไม่
"ชาติ" น่าจะหมายเพียง country หรือ "ประเทศ"
คำถาม คือ ประชาชน ในระบอบเก่า อยู่ตรงไหน
ปัญหาดังกล่าว
จึงทำให้มีการต่อด้วย "และรัฐธรรมนูญ" ของ "คณะราษฎร"
หรือ "และประชาชน" ของ "คสช" ใช่หรือไม่ ???
cK@ประชาชนอยู่ที่ไหน???
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น