ย้อนอดีต14 ก.ค.พ.ศ. 2332 (ค.ศ. 1789)
ฝูงชนในกรุงปารีสบุกโจมตีคุ กบาสตีย์ ในเหตุการณ์การปฏิวัติฝรั่ง เศส
ฝูงชนในกรุงปารีสบุกโจมตีคุ
"เกิดขบถขึ้นรึ"
พระเจ้าหลุยส์ที่16 ทรงมีพระราชดำรัสถามมหาดเล็ ก
"หามิได้พระเจ้าค่ะ มันคือการปฏิวัติ"
มหาดเล็กตอบ
14 ก.ค.พ.ศ. 2332 (ค.ศ. 1789)
ฝูงชนในกรุงปารีสบุกโจมตีคุ กบาสตีย์ ในเหตุการณ์การปฏิวัติฝรั่ง เศส
พระเจ้าหลุยส์ที่16 ทรงมีพระราชดำรัสถามมหาดเล็
"หามิได้พระเจ้าค่ะ มันคือการปฏิวัติ"
มหาดเล็กตอบ
14 ก.ค.พ.ศ. 2332 (ค.ศ. 1789)
ฝูงชนในกรุงปารีสบุกโจมตีคุ
เพื่อปลดปล่อย นักโทษ การเมือง ให้เป็นอิสระ อันคุกบาสติลย์นี้ถือว่าเป็
"ไม่มีขนมปังก็กินเค้กแทนซะสิ"
"Let them eat cake!" (Qu'ils mangent de la brioche.)
พระนางมารี อ็องตัวแน็ต
ตอบเมื่อประชาชนผู้ยากไร้ที่ตะโกนว่า "พวกเราหิว พวกเราต้องการขนมปัง.."
Marie Antoinette (November 2, 1755 – October 16, 1793)
เจ้าหญิงแห่งฮังการีและโบฮีเมีย อาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย อดีตพระราชินีแห่งฝรั่งเศส และนาวาร์ (แคว้นบาสก์ในปัจจุบัน) (พ.ศ. 2317 – พ.ศ. 2336) รู้จักในอีกชื่อหนึ่งว่า มารี-อ็องตัวแน็ตแห่งออสเตรีย พระนางถูกประหารด้วยกิโยตินระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส
Source : http://en.wikiquote.org/wiki/Marie_Antoinette
เจ้าหญิงแห่งฮังการีและโบฮีเมีย อาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย อดีตพระราชินีแห่งฝรั่งเศส และนาวาร์ (แคว้นบาสก์ในปัจจุบัน) (พ.ศ. 2317 – พ.ศ. 2336) รู้จักในอีกชื่อหนึ่งว่า มารี-อ็องตัวแน็ตแห่งออสเตรีย พระนางถูกประหารด้วยกิโยตินระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส
Source : http://en.wikiquote.org/wiki/Marie_Antoinette
คลิปสารคดี: The French Revolution ทางช่อง History
http://www.youtube.com/watch?v=JlOBAWUdy9s
การปฎิวัติฝรั่งเศส
http://www.youtube.com/watch?v=gs6tIYSMjNM&feature=relatedการปฎิวัติฝรั่งเศล
การปฏิวัติฝรั่งเศสไม่ได้จบลงเร็วๆ มีการเดินหน้าบ้าง ถอยหลังบ้าง
ผลของการปฏิวัติเปิดทางให้มีการพัฒนาระบบทุนนิยมเต็มใบ
และผู้ที่ได้รับประโยชน์มากที่สุดคือนายทุนใหญ่ซึ่งไม่เคยมีความกล้าหาญที่
จะนำการปฏิวัติแต่แรก
โดย C. H.
ในปี ค.ศ. 1789 กษัตริย์หลุยส์ที่ 16 เรียกให้มีการประชุมของ “สามสภา”
(สภาพระ สภาขุนนาง และสภาสามัญชน)
เพื่อหาทางเก็บภาษีเพิ่มเพื่อจ่ายหนี้ของรัฐบาล แต่ผู้แทนของสภาสามัญชน
ซึ่งประกอบไปด้วยคนระดับกลางๆ ไม่ยอมก้มหัวให้พวกชั้นสูง
และเมื่อกษัตริย์สั่งให้ปิดการประชุม
เขาก็ย้ายไปประชุมในสนามเทนนิสและประกาศตั้งเป็น “สภาแห่งชาติ” พวกคนชั้นกลางในระยะแรกมองว่าต้องแค่ “ปฏิรูป” การปกครองโดยคงไว้ระบบกษัตริย์ พวกนี้ขัดขวางการขยายสิทธิในการเลือกตั้งไปสู่คนธรรมดาระดับล่างด้วย
เริ่ม
มีการก่อตั้งสมาคมต่างๆ เพื่อถกเถียงแลกเปลี่ยนการเมือง เช่น สมาคม
จัคโคบิน ซึ่งมีผู้นำสำคัญชื่อ โรบสเบียร์
แต่ท่ามกลางวิกฤตการเมืองและความขัดแย้ง พวกคนจนในเมือง (sans-culottes)
กับเกษตกรยากจน ไม่ได้เพิกเฉย
มีการร่วมตัวกันและปลุกระดมมวลชนระดับล่างให้ออกมาต่อสู้
โดยเฉพาะเมื่อมีข่าวว่ากษัตริย์จะทำรัฐประหารเพื่อปราบปรามสภาแห่งชาติ
ในโอกาสนั้นมวลชนชั้นล่างบุกเข้าไปยึดป้อม บาสเตียล
ที่เป็นคุกและคลังแสงอาวุธ
หลังจากนั้นไม่นาน
มวลชนสตรีจากย่านยากจนในเมืองปารีส
ซึ่งไม่พอใจกับปัญหาข้าวของขาดแคลนและราคาแพง
ออกมาเดินขบวนและชักชวนให้ผู้ชายติดอาวุธสองหมื่นคน
ร่วมกันเดินไปที่วังแวร์ไซ เพื่อจับกษัตริย์และลากกลับมาที่ปารีส ในปี 1791
ความไม่พอใจของคนชั้นล่างกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมเพิ่มขึ้น
และขณะที่คนจำนวนมากเข้าแถวเพื่อลงชื่อเรียกร้องให้ตั้งสาธารณรัฐ “กองกำลังแห่งชาติ” ภายใต้การนำของคนชั้นกลางก็กราดยิงประชาชนตายไปห้าสิบศพ
การ
ปราบปรามของฝ่ายชนชั้นกลางที่สองจิตสองใจเกี่ยวกับระบบกษัตริย์ไม่ได้ผล
มีการลุกฮือรวมตัวกันของคนจนในเมืองและคนชั้นกลางที่ต้องการปฏิวัติอย่างถอน
รากถอนโคน แกนนำตอนนี้กลายเป็นคนอย่าง โรบสเบียร์ และในที่สุดสภาใหม่
ที่ได้รับการเลือกตั้งจากพลเมืองชายทุกคน
ก็ประกาศก่อตั้งสาธารณรัฐฝรั่งเศสผ่านการยกเลิกและประหารชีวิตกษัตริย์
และการยกเลิกระบบฟิวเดิล
การปฏิวัติฝรั่งเศสไม่ได้จบลงเร็วๆ
มีการเดินหน้าบ้าง ถอยหลังบ้าง
ผลของการปฏิวัติเปิดทางให้มีการพัฒนาระบบทุนนิยมเต็มใบ
และผู้ที่ได้รับประโยชน์มากที่สุดคือนายทุนใหญ่ซึ่งไม่เคยมีความกล้าหาญที่
จะนำการปฏิวัติแต่แรก พวกนายทุนจัดการกับคนก้าวหน้าอย่างโรบสเบียร์
แล้วจึงหันไปพึ่งเผด็จการกองทัพภายใต้การนำของนายทหารหนุ่มชื่อ นโปเลียน
โบนาพาร์ท
(ที่มา)
http://turnleftthai.blogspot.dk/2012/07/blog-post_10.html
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น