โอเคเอางั้นก็ได้ มาทำประชามติกันเลย!
โดย เกษียร เตชะพีระ
ศาลรัฐธรรมนูญอ่านคำวินิจฉัยเรื่องแก้รัฐธรรมนูญ & จัง-จ๊าค รุสโซ เจ้าทฤษฎีประชาธิปไตย
ในความพยายามที่จะขี่คร่อมขัดขวางและถ่วงทานอำนาจผู้แทนที่มาจากการเลือกตั้งของ ประชาชน (representative democracy) คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญได้อ้างอิงหลักประชาธิปไตย ทางตรง (direct democracy) และ
เสนอแนะให้ทำประชามติเพื่อ "...ให้ประชาชนผู้มีอำนาจสถาปนา
รัฐธรรมนูญได้ลงประชามติเสียก่อนว่าสมควรจะมีรัฐธรรมนูญฉบับใหม่หรือไม่..."
(www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1342173137&grpid=03&catid&subcatid)
ใน
ฐานะนักรัฐศาสตร์ ผมเห็นว่าถ้าจะเอาอย่างนั้น ก็ควรทำให้เต็มที่สมบูรณ์
และกลับไปที่หลักการเริ่มแรกทางปรัชญาการเมืองของประชาธิปไตยกันเลย!
คือกลับไปที่งาน Du Contrat Social (ค.ศ.1762) ของ Jean-Jacques Rousseau (สัญญา
ประชาคม ของ จัง-จ๊าค รุสโซ)
ที่ถือกันว่าเป็นตัวบทต้นแบบทฤษฎีการเมืองสำคัญที่สุดของระบอบประชาธิปไตย
และถูกอ้างอิงไปใช้กันทั่วโลกนับแต่หลังการปฏิวัติฝรั่งเศสปี ค.ศ. 1789 เป็นต้นมา
งาน
ชิ้นดังกล่าวได้อภิปรายวาระสำคัญที่ประชาชนใช้
"อำนาจในการก่อตั้งองค์กรสูงสุด
ทางการเมืองหรืออำนาจในการสถาปนารัฐธรรมนูญ" โดยตรง ไว้ที่ Livre III: Chapitre XIV, XVII (เล่มสาม บทที่ 14 และ 17) ของงานชิ้นนั้นว่า (แปลโดยผู้เขียน):
http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1342781948&grpid=&catid=02&subcatid=0207
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น