เกร็ดความรู้ : เหตุใดคณะนิติราษฎร์เสนอให้นิรโทษกรรมนักโทษการเมือง ในรูป"รัฐธรรมนูญ
โดย พุฒิพงศ์ พงศ์เอนกกุล
ตามข้อเสนอคณะนิติราษฎร์ให้ตรา "รัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรมและการขจัดความขัดแย้ง"๑ หลายท่านอาจเห็นว่า "ยุ่งยากซับซ้อน เพื่ออะไร?" ในข้อเขียนนี้จะชี้ประเด็นหนึ่งก่อนว่า ทำไมคณะนิติราษฎร์ไม่เสนอให้ตราเป็น "พระราชบัญญัตินิรโทษกรรม" เล่า? อธิบายข้อสงสัยชั้นต้นดังกล่าว ได้ดังนี้
ตามกระบวนการทั่วไป เวลาคุณตรา "พระราชบัญญัติ" ต้องโหวตผ่านทีละสภา คือ ผ่านกึ่งหนึ่งของ สภาผู้แทนราษฎร (เกินกึ่งหนึ่งของ ๕๐๐คน คือ ๒๕๑ คน) เมื่อผ่านแล้วไปถึง วุฒิสภา ต้องโหวตผ่านอีกด่านหนึ่ง (ต้องเกินกึ่งหนึ่งของ ๑๕๐ คน คือ ๗๖ คน) เบ็ดเสร็จ ออกแรงเสียเวลา ๒ ครั้ง ( "ลุ้น ๒ รอบ" ตอนโหวตในแต่ละสภา ) นับรวมทั้งสองสภาใช้เสียงทั้งสิ้
แต่เวลาคุณตรา "รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม" คุณโหวตเพียงสภาเดียว คือ ยุบทั้งสองสภามาพิจารณาพร้อมกัน
นอกจากนี้ กรณีตรารัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติ
พูด ง่ายๆก็คือ รัฐธรรมนูญไทย แก้ง่ายกว่า พระราชบัญญัติธรรมดา (ในแง่ของความรวดเร็ว กระบวนการ และคะแนนเสียงที่ใช้) เพียงแค่มีกระบวนการพิเศษ (ใช้รัฐสภารวดเดียวจบ,และจำนวนผู้
เมื่อนำ "วิธีการ" (กระบวนการจัดทำรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม) มาทาบกับ "วัตถุประสงค์" (ปล่อยตัวนักโทษการเมืองให้ไวที่สุด) การนิรโทษกรรมผ่านกฎหมายในรูปของรัฐธรรมนูญ จึงเป็นข้อเสนอที่สมเหตุสมผลที่สุด (บนฐานของวัตถุประสงค์ดังกล่าว).
(ที่มา)
http://blogazine.in.th/blogs/phuttipong/post/3894
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น