หน้าเว็บ

วันพฤหัสบดีที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2556

พวกคนดี ของอำมาตย์ แต่เป็นคนอุบาทว์ของประชาชน

พวกคนดี ของอำมาตย์ แต่เป็นคนอุบาทว์ของประชาชน





เกษม จาติกวณิช และ อานันท์ ปัญญารชุน (พวกคนดี ของอำมาตย์ แต่เป็นคนอุบาทว์ของ ปชช. คือ คนขายชาติตัวจริง

อานันท์ ปัญญารชุน กับตำนาน เช็คใบเดียว ซื้อโรงกลั่นหมื่นล้าน

สิ่งที่ผู้ดีรัตนโกสินทร์ อย่างนายอานันท์ ปัญญารชุน จะต้องตอบคำถามต่อแผ่นดินไทย ก็คือ

1. เหลือเวลาอีกเพียง 9 ปี คือในปี 2544 สัญญาเช่าโรงกลั่นไทยออยล์ ก็จะสิ้นสุดลง และจะตกเป็นของรัฐ

เหตุใดจึงต้องรีบร้อนขายในราคาเพียง 8 พันกว่าล้านบาท

ที่ว่ารีบร้อน จนถึงขั้นร้อนรน ก็เพราะเช็คที่สั่งจ่าย เป็นเช็คส่วนบุคคล ไม่ใช่แคชเชียร์เช็คที่ยืนยันได้ว่ามีเงินแน่ ๆ ด้วยซ้ำไป

2. จุดประสงค์ใหญ่ของการขายโรงกลั่นไทยออยล์ในครั้งนี้ คือ การเข้าตลาดหลักทรัพย์

แถมยังเอาเปรียบรัฐ โดยสัญญาที่เขียนว่า เมื่อไทยออยล์เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ปตท.ต้องลดสัดส่วนการถือหุ้น ลง 25% ของหุ้นที่ถืออยู่ทั้งหมด คงไม่ต้องสาธยายกันให้มากความว่า นายอานันท์จะมีส่วนได้อย่างไรกับเรื่องนี้

ในเมื่อประธานกรรมการและกรรมการอำนวยการบริษัท คือ นายเกษม จาติกวณิช

 
โรงกลั่นไทยออยล์ เป็นสัญญาประเภท BOT คือต้องส่งมอบความเป็นเจ้าของสิทธิของโรงกลั่นให้กับรัฐ ในปี 2524


แต่ก่อนจะถึงปี 2524 ไทยออยล์ได้รับอนุมัติให้ขยายกำลังการ
ลั่น และเพื่อให้การอนุมัติดังกล่าว สร้างความมั่นใจต่อธนาคารผู้ให้กู้ รัฐบาลจึงได้ออกหนังสือสนับสนุน (Government Support Letter) ให้แก่ไทยออยล์

และที่สำคัญไทยออยล์ยังได้รับการต่อสัญญาเช่าโรงกลั่นออกไปอีกเป็นระยะเวลา 20 ปี สิ้นสุดปี 2544

แต่สิ่งที่เป็นข้อแลกเปลี่ยนก็คือ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างผู้ถือหุ้น โดยตระกูลเชาว์ขวัญยืน ลดสัดส่วนการถือหุ้นลงจากเติมถือ 100% เหลือ 49% และให้ ปตท.ซึ่งเป็น หน่วยงานของรัฐเข้ามาถือ 49% อีก 2% ที่เหลือให้สำนักงานทรัพย์สินฯเข้ามา

"ซุปเปอร์เค" เกษม จาติกวณิช ยอดนักบริหาร ได้เข้ามารับตำแหน่งประธานกรรมการและกรรมการอำนวยการบริษัทเมื่อปี 2528

การเข้ามาของเกษมดูเหมือนว่า เป็นช่วงที่มีการขยายงานอยู่ตลอดเวลา แต่การขยายงานไทยออยล์ก็มีภาระผูกพัน กับรัฐบาลมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งเป็นเรื่องหนักใจของเกษมในด้านการบริหารเงิน
 
"ทุก 100 บาทที่เราหามาได้จะต้องให้รัฐ 65 บาท ในรูปของ ภาษีและส่วนแบ่งกำไร"


หนทางแก้ไขของ "ซุปเปอร์เค" คือการนำไทยออยล์เข้าตลาดหลักทรัพย์ ในปี 2533 แต่ถูกปฏิเสธด้วยเหตุผลว่า สัญญาเช่าโรงกลั่นเหลืออยู่เพียง 11 ปี

เมื่อถึงยุคอานันท์ 2 มีการซื้อขายโรงกลั่นไทยออยล์พรอมกับขยาย เวลาเช่าที่ดินออกไปอย่างน้อย 20 ปี ในราคา 8,764,245,647.86 ล้านบาท !!!

และสิ่งที่แอบแฝงมาด้วยก็คือ สัญญาที่เขียนว่า เมื่อไทยออยล์เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ปตท.ต้องลดสัดส่วนการถือหุ้น ลง 25% ของหุ้นที่ถืออยู่ทั้งหมด

สิ่งที่ผู้ดีรัตนโกสินทร์ อย่างนายอานันท์ ปัญญารชุน จะต้องตอบคำถามต่อแผ่นดินไทย ก็คือ

1. เหลือเวลาอีกเพียง 9 ปี คือในปี 2544 สัญญาเช่าโรงกลั่นไทยออยล์ ก็จะสิ้นสุดลง และจะตกเป็นของรัฐ

เหตุใดจึงต้องรีบร้อนขายในราคาเพียง 8 พันกว่าล้านบาท

ที่ว่ารีบร้อน จนถึงขั้นร้อนรน ก็เพราะเช็คที่สั่งจ่าย เป็นเช็คส่วนบุคคล ไม่ใช่แคชเชียร์เช็คที่ยืนยันได้ว่ามีเงินแน่ ๆ ด้วยซ้ำไป

2. จุดประสงค์ใหญ่ของการขายโรงกลั่นไทยออยล์ในครั้งนี้ คือ การเข้าตลาดหลักทรัพย์

แถมยังเอาเปรียบรัฐ โดยสัญญาที่เขียนว่า เมื่อไทยออยล์เข้าจดทะเบียนในตลาดหลัก ทรัพย์ฯ ปตท.ต้องลดสัดส่วนการถือหุ้น ลง 25% ของหุ้นที่ถืออยู่ทั้งหมด

คงไม่ต้องสาธยายกันให้มากความว่า นายอานันท์จะมีส่วนได้อย่างไรกับเรื่องนี้ ในเมื่อประธานกรรมการและกรรมการอำนวยการบริษัท คือ นายเกษม จาติกวณิช

แต่สิ่งที่คาดหวังไว้ก็ไม่อาจเป็นจริงได้ ในปลายปี 2539 ประเทศไทยเข้าสู่ความล่มสลายทางด้านเศรษฐกิจ ประกอบกับราคาน้ำมันโลกเริ่มลดลงอย่างต่อเนื่อง

รายได้จากการกลั่น GRM เหลือเพียง 1.84 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล  ส่งผลให้ไทยออยล์มีผลขาดทุนสุทธิจำนวน 10,823 ล้านบาท ในปี 2540 และ 7,306 ล้านบาท ในปี 2541
 
ในที่สุดยุคแห่งความยากลำบากก็มาเยือน เมื่อเกษม หรือ ซุปเปอร์เค ได้ลงจากเก้าอี้ที่สำคัญของไทยออยล์
 


เสียง ลือเสียงเล่าอ้างว่าการที่เกษมถอนตัวในครั้งนั้น เพราะทนเห็นไทยออยล์ที่จำเป็นต้องปรับโครงสร้างหนี้ก้อนโตที่ตัวเองสร้างขึ้นมาไม่ไหว ถ้าเป็นเช่นนี้เครดิตที่เขาสร้างไว้ต้องพังพินาศแน่นอน


ดังนั้นถ้าไทยออยล์ต้องปรับโครงสร้างหนี้ ก็จำต้องไม่มีคนชื่อเกษมรวมอยู่ในสมาคมด้วย และมีการคาดเดากันว่าผู้ที่อยู่เบื้องหลังการดำเนินการครั้งนี้ไม่ใช่ใครที่ ไหน... ปตท. นั่นเอ  

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น