มติเอกฉันท์ ตลก.ศาลรธน.ฟัน ‘พ.ร.บ.กู้เงิน 2 ล้านล้าน’ ขัดรัฐธรรมนูญ
12 มี.ค.2557 ประชาชาติธุรกิจออนไลน์รายงาน เบื้องต้น ถึงการประชุมคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ โดยมีการพิจารณาลงมติในคำร้องที่ประธานรัฐสภาส่งความเห็นของสมาชิกรัฐสภา พรรคประชาธิปัตย์ ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญมาตรา 154 วรรคหนึ่ง(1) ว่า ร่างพ.ร.บ.ให้อำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้าน คมนาคมขนส่งของประเทศ มีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญมาตรา 169 วรรคหนึ่ง และมาตรา 170 หรือตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามรัฐธรรมนูญหรือไม่
ทั้งนี้ เบื้องต้นมีรายงานว่า ที่ประชุมตุลาการศาลรัฐธรรมนูญเสียงข้างมากวินิจฉัยว่ากระบวนการพิจารณา กฎหมายไม่ถูกต้อง โดยมีมติเป็นเอกฉันท์ว่า ร่าง พ.ร.บ.กู้เงิน 2 ล้านล้าน ขัดรัฐธรรมนูญ
โดยก่อนหน้านี้พรรคเพื่อไทยวิเคราะห์คำวินิจฉัยอาจจะออกมาใน 3 แนวทางใดแนวทางหนึ่งดังนี้ 1.ศาลอาจจะเห็นว่าการตราร่าง พ.ร.บ.ไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ 2.ศาลอาจจะวินิจฉัยว่ามีเนื้อหาขัดต่อรัฐธรรมนูญ แต่ไม่ได้ขัดในประเด็นที่สำคัญ จึงทำให้กฏหมายตกไป แต่ยังมีผลบังคับใช้อยู่ 3.ศาลอาจวินิจฉัยว่า ร่าง พ.ร.บ.ขัดต่อรัฐธรรมนูญ ซึ่งอาจจะมีคำถามเกี่ยวกับความรับผิดชอบทางการเมืองของรัฐบาล
นอกจากนี้ ในวันเดียวกันนี้ ที่ประชุมศาลรัฐธรรมนูญได้พิจารณารับคำร้องของคณะกรรมการการเลือกตั้ง(กก ต.)ที่อาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญมาตรา 214 ยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยกรณีปัญหา28 เขตเลือกตั้งที่ไม่มีผู้สมัคร ส.ส. รวมทั้งพิจารณารับคำร้องจากผู้ตรวจการแผ่นดินที่เสนอเรื่องพร้อมความเห็น กรณีนายกิตติพงศ์ กมลธรรมวงศ์ อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขอให้ส่งเรื่องไปให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้การเลือกตั้ง 2 ก.พ.เป็นโมฆะ
(อ่านต่อ)
http://www.prachatai.com/journal/2014/03/52222
สร้างอนาคตไทย 2020 พลิกโฉมประเทศอย่างไร
ผมขออธิบายรายละเอียดโครงกา
- รถไฟความเร็วสูง 783,553 ล้านบาท คิดเป็น 39.2%
- รถไฟฟ้า 456,662 ล้านบาท คิดเป็น 22.8%
- ถนนทางหลวง 241,080 ล้านบาท คิดเป็น 12.1%
- ถนนทางหลวงชนบท 34,309 ล้านบาท คิดเป็น 1.7%
- สถานีขนส่งสินค้า 14,093 ล้านบาท คิดเป็น 0.7%
- ท่าเรือ 29,581 ล้านบาท คิดเป็น 1.5%
- ด่านศุลกากร 12,545 ล้านบาท คิดเป็น 0.6%
- ปรับปรุงระบบรถไฟ (เพิ่มเครื่องกั้น ซ่อมบำรุงรางที่เสียหาย) 23,236 ล้านบาท คิดเป็น 1.2%
- รถไฟทางคู่ และทางคู่เส้นทางใหม่ 383,891 ล้านบาท คิดเป็น 19.2%
- ค่าสำรองเผื่อฉุกเฉิน (ความผันผวนราคาวัสดุ การติดตามและประเมินผล) 21,050 ล้านบาท คิดเป็น 1.0%
จะเห็นได้ว่า โครงการใน พ.ร.บ.สร้างอนาคตประเทศนี้ ไม่ได้มีแต่เรื่องรถไฟความเ
โครงการเหล่านี้ ไม่ได้คิดขึ้นมาลอยๆ แต่สอดคล้องกับแนวทางการพัฒ
สำหรับสิ่งที่จะได้จากโครงก
1. ต้นทุนโลจิสติกส์ต่อ GDP ลดลงจากปัจจุบัน (ที่ 15.2%) ไม่น้อยกว่า 2%
2. สัดส่วนผู้เดินทางระหว่างจั
3. ความเร็วเฉลี่ยของรถไฟขนส่ง
4. สัดส่วนการขนส่งสินค้าทางรา
5. สัดส่วนการขนส่งสินค้าทางน้ำ เพิ่มขึ้นจาก 12% เป็น 18%
6. ความสูญเสียจากน้ำมันเชื้อเ
7. สัดส่วนการเดินทางโดยรถไฟฟ้
8. ปริมาณการขนส่งสินค้าผ่านเข้า-ออก ณ ด่านการค้าชายแดนที่สำคัญ เพิ่มขึ้น 5%
9. ปริมาณผู้โดยสารรถไฟ เพิ่มขึ้นจาก 45 ล้านคน/เที่ยว/ปี เป็น 75 ล้านคน/เที่ยว/ปี
10. ลดระยะเวลาการเดินทางจาก กทม. ไปยังเมืองภูมิภาค ด้วยรถไฟความเร็วสูงภายในรั
ชัชชาติ สิทธิพันธุ์
18 ก.ย. 2556
(ทีมงานเผยแพร่อีกครั้ง 11 มี.ค. 2557: ดาวน์โหลดภาพความละเอียดสูง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น