8 มีนา วันสตรีสากล
คลาร่า เซทกิ้น (CLARE ZETKIN)
ค.ศ.1857 - 1933 (พ.ศ.240 - 2476)
ผู้กำเหนิด วันสตรีสากล
การต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย และสิทธิของผู้ใช้แรงงาน
ณ เมืองชิคาโก สหรัฐอเมริกา กรรมกรสตรีในโรงงานทอผ้าได้ลุกฮือขึ้นเดินขบวนประท้วงการเอาเปรียบ กดขี่ ขูดรีด ทารุณ จากนายจ้างที่เห็นผลผลิตสำคัญกว่าชีวิตคน ความเป็นอยู่ของแรงงานสตรีในเมื องชิคาโก ว่ากันว่าไม่ต่างอะไรจากทาสนิโก รในเงื้อมมือคนผิวขาว เพราะต้องทำงานวันละ 12-15 ชั่วโมง แต่ได้รับค่าแรงานเพียงน้อยนิดส่วนสตรีตั้งครรภ์มักถูกไล่ออก
ในที่สุดภายใต้การนำของ คลาร่า แซทคิน ผู้นำกรรมกรสตรีโรงงานทอผ้าชาวเ ยอรมันลุกฮือขึ้นสู้ด้วยการเดิน ขบวนนัดหยุด งานในวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ.1907 โดยเรียกร้องให้นายจ้างลดเวลากา รทำงานจากวันละ 12-15 ชั่วโมง ให้เหลือวันละ 8 ชัวโมงพร้อมทั้งให้ปรับปรุงสวัส ดิการภาย ในโรงงาน และให้สตรีมีสิทธิออกเสียงเลือก ตั้งด้วย ในการเรียกร้องครั้งนี้ แม้จะมีหลายร้อยคนถูกจับกุม แต่ก็ได้รับการสนับสนุนจากสตรีท ั้งโลก และส่งผลให้วิถีการผลิตแบบทุนนิ ยมเริ่มสั่นคลอน
แต่อย่างไรก็ตามอีก 3 ปีต่อมา คือ ในวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ.1910 ข้อเรียกร้องของเหล่าบรรดากรรมก รสตรีก็ประสบความสำเร็จ เมื่อตัวแทนสตรีจาก 18 ประเทศ เข้าร่วมประชุมสมัชชาสตรีสังคมน ิยม ครั้งท์กที่ประชุมได้ประกาศรับร องข้อเรียกร้องของบรรดากรรมกรสต รี โดยให้ลดเวลาทำงานให้เหลือเพียง วันละ 8 ชั่วโมง ศึกษาหาความรู้ 8 ชั่วโมง พักผ่อน 8 ชั่วโมง และกำหนดให้ค่าแรงงานสตรีเท่าเทียยมกับค่าแรงงานชาย อีกทั้งยังมีการคุ้มครองสวัสดิก ารสตรีและแรงงานเด็กอีกด้วย
นอกจากนั้นในการประชุมครั้งนั้น ยังได้มีการรับรองข้อเสนอของ คลาร่า แซทคิน ด้วยการประกาศให้วันที่ 8 มีนาคม เป็นวันสตรีสากล
การต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย และสิทธิของผู้ใช้แรงงาน
ณ เมืองชิคาโก สหรัฐอเมริกา กรรมกรสตรีในโรงงานทอผ้าได้ลุกฮือขึ้นเดินขบวนประท้วงการเอาเปรียบ กดขี่ ขูดรีด ทารุณ จากนายจ้างที่เห็นผลผลิตสำคัญกว่าชีวิตคน ความเป็นอยู่ของแรงงานสตรีในเมื
ในที่สุดภายใต้การนำของ คลาร่า แซทคิน ผู้นำกรรมกรสตรีโรงงานทอผ้าชาวเ
แต่อย่างไรก็ตามอีก 3 ปีต่อมา คือ ในวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ.1910 ข้อเรียกร้องของเหล่าบรรดากรรมก
นอกจากนั้นในการประชุมครั้งนั้น
คลาร่า เซทกิ้น (CLARE ZETKIN) ผู้กำเนิด วันสตรีสากล การต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย และสิทธิของผู้ใช้แรงงาน ณ เมืองชิคาโก สหรัฐอเมริกา กรรมกรสตรีในโรงงานทอผ้าได้ลุกฮือขึ้นเดินขบวนประท้วงการเอาเปรียบ กดขี่ ขูดรีด ทารุณ จากนายจ้างที่เห็นผลผลิตสำคัญกว่าชีวิตคน ความเป็นอยู่ของแรงงานสตรีในเมื
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น